ผู้เล่าเรื่อง : นางนันทริดา เฉลิมไทย
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง : นิติกรชำนาญการ
หน่วยงาน : สำนักความรับผิดทางแพ่ง
หลักสูตรฝึกอบรม : การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Desktop Author
หน่วยงานผู้จัด : กระทรวงการคลัง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร / โครงการฝึกอบรม
๑) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้โปรแกรมสำหรับสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถนำมาเป็นสื่อการเรียน การสอน และการนำเสนอ ในรูปแบบของหนังสือแอนิเมชั่น ที่สามารถบันทึกเนื้อหารายละเอียด ในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ ข้อความตัวอักษร รูปภาพ วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว แบบมัลติมีเดีย โดยรวบรวมคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำสื่อ ตั้งแต่การจัดหน้าเอกสาร การนำเข้ารูปภาพ ไฟล์เสียง วิดีโอ ตลอดจน องค์ประกอบต่างๆ ลงไปในอัลบั้มหนังสือ
การแบ่งปันความรู้ที่ได้รับ :
๑. โปรแกรม Desktop Author เป็นโปรแกรมสร้างหนังสือแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ที่มีลักษณะคล้ายกับหนังสือจริง คือ มีหน้าปก สารบัญ ข้อความ รูปภาพ สามารถแทรกภาพเคลื่อนไหว ไฟล์วีดีโอ ไฟล์ Flash เพิ่มเสียงบรรยาย สร้างลิงค์ไปยังหน้าเว็บไซด์ต่าง ๆ ผลงานที่ได้มีขนาดไฟล์เล็ก ทำให้สามารถดาวน์โหลดผ่านเว็บ หรือ ส่งผ่านอีเมล์ และสามารถเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
๒. ความสามารถของ Desktop Author คืออนุญาตให้ป้อนข้อความ หรือรูปภาพ รวมทั้งสื่อมัลติมีเดียต่าง ๆ ผลงานที่ได้เป็นทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบไฟล์เป็น .exe สื่อออนไลน์ .html , .dnl ที่มีขนาดเล็ก เหมาะสำหรับการนำเสนอผ่านเว็บ แต่การเรียกดูจำเป็นต้องติดตั้ง DNL Reader ก่อน จึงจะแสดงผลได้ และ Screen Saver (.scr) สำหรับการรักษาอายุจอภาพคอมพิวเตอร์ด้วยสื่อที่สามารถสร้างสรรค์เอง
๓. คุณสมบัติของ Desktop Author
๓.๑ ผลงานมีขนาดเล็ก แสดงผลได้ทั้ง offline/online
๓.๒ มีลักษณะคล้ายกับหนังสือซึ่งเป็นรูปแบบที่อ่านแล้วเข้าใจได้ง่าย
๓.๓ ฟังก์ชั่น image popup ทำให้สามารถสร้างเนื้อหาโต้ตอบกับผู้ใช้
๓.๔ สามารถสั่งพิมพ์หน้าแต่ละหน้า หรือทั้งหมดของหนังสือได้
๓.๕ สามารถสร้างแบบทดสอบ และแบบสำรวจ ด้วย easy form ได้
๓.๖ เชื่อมโยงไปหาเว็บไซด์เพื่อดาวน์โหลด
๓.๗ ผู้ใช้สามารถส่งต่อได้ง่ายโดยการส่งผ่านอีเมล์ หรือระบบเครือข่าย
๓.๘ สามารถใช้ได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ PC และ Notebook
๓.๙ สามารถเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายได้ง่ายและ Download ผ่านเว็บได้รวดเร็ว หรือสามารถส่งไฟล์ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ได้
วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557
การใช้โปรแกรม Microsoft Project
ผู้เล่าเรื่อง : นางสาวชลพรรณ สิงห์สาคร
ปัจจุบันดารงตาแหน่ง : นักวิชาการเงินและบัญชีชานาญการ
หน่วยงาน : สานักงานเลขานุการกรม
หลักสูตรฝึกอบรม : การใช้โปรแกรม Microsoft Project
หน่วยงานผู้จัด : กระทรวงการคลัง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร / โครงการฝึกอบรม
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการบริหารโครงการ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Project ซึ่งเป็นโปรแกรมเพื่อการบริหารจัดการโครงการ ทรัพยากร โดยเริ่มตั้งแต่การป้อนข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ ปฏิทินพื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงเวลาทางานในปฏิทิน การป้อนข้อมูลเกี่ยวกับงาน ประเภทความสัมพันธ์ของงาน การกาหนดรูปแบบความสัมพันธ์ของงาน การจัดการกับทรัพยากร ปัญหาการเรียกใช้ทรัพยากรซ้าซ้อน การติดตามงาน การพิมพ์รายละเอียดของโครงการออกทางเครื่องพิมพ์ รวมทั้งการจัดรูปแบบรายงานแบบต่าง ๆ ของโครงการ
การแบ่งปันความรู้ที่ได้รับ : การบริหารโครงการด้วย Microsoft Project
1. ลักษณะเด่นของโครงการ
1.1 ประกอบไปด้วยงานย่อย
1.2 มีวันเริ่มวันจบแน่นอน
1.3 มีข้อบังคับทางด้านขอบเขตของงานและคุณภาพ ระยะเวลา และค่าใช้จ่าย
2. วัตถุประสงค์ของการบริหารโครงการ
2.1 สามารถดาเนินโครงการให้สาเร็จตามแผนที่กาหนดไว้
2.2 ใช้ทรัพยากรในการดาเนินโครงการน้อยที่สุด ทั้งในแง่ของเวลาและค่าใช้จ่าย
3. แนวความคิดในการบริหารโครงการ
3.1 PERT (Program Evaluation Research Technique)
สาหรับนักบริหารโครงการที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทาโครงการมาก่อน โดยเป็นการประเมินเวลา (เวทเวลา) ที่เหมาะสมจากระยะเวลา 3 ค่า ดังนี้
- Optimistic Duration ใช้เวลาดาเนินโครงการสั้นที่สุด นักบริหารโครงการจะเป็นคนมองโลกในแง่ดี เช่น การสร้าง SkyWalk จะสามารถสาเร็จภายในเวลาประมาณ 1 เดือน โดยไม่มีปัญหาและอุปสรรคใด ๆ
- Pessimistic Duration ใช้เวลาดาเนินโครงการนานที่สุด นักบริหารโครงการจะเป็นคนมองโลกในแง่ลบ เช่น การสร้าง SkyWalk จะสามารถสาเร็จได้ต้องใช้เวลานานเป็นปี เนื่องจากอาจต้องมีการเวนคืนที่ดิน เป็นต้น
- Expected Duration ใช้เวลาดาเนินโครงการปานกลาง นักบริหารโครงการจะเป็นคนมองโลกแบบกลาง ๆ
น้าหนักที่ใช้ประเมินคือ 1:4:1 (นาระยะเวลา 3 ค่ามากาหนดเป็นสูตร โดย 4 คือ Expected)
3.2 CPM (Critical Path Method)
สาหรับนักบริหารโครงการที่เคยมีประสบการณ์ในการทาโครงการมาก่อน เช่น เคยบริหารโครงการจัดฝึกอบรมมาก่อน ซึ่งโปรแกรม Microsoft Project ใช้แนวคิดนี้ในการคานวณและบริหารโครงการ
4. ขั้นตอนสาคัญของการบริหารโครงการ
4.1 วางแผน (Plan)
4.1.1 แจกแจงงานและระบุความสัมพันธ์
4.1.2 กาหนดทรัพยากรที่ต้องใช้
4.1.3. สร้างชาร์ทแสดงโครงการ
4.1.4 คิดคานวณระยะเวลาของโครงการ
4.1.5 คิดคานวณค่าใช้จ่าย
4.1.6 ปรับปรุงโครงการ
4.2 ดาเนินโครงการ (Operate)
4.3 ประเมินผลโครงการ (Evaluate)
5. การให้ข้อมูลสาหรับการบริหารโครงการ
Microsoft Project ใช้สาหรับอัพเดทโครงการได้ โดยช่วงเวลาอัพเดทไม่สาคัญเท่ากับข้อมูลที่ป้อนให้กับ Microsoft Project เช่น ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อโครงการ (น้าท่วม แผ่นดินไหว คนงานสไตร์ค) หรือปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อโครงการ (การวางแผนระยะสั้นเกินจริง) โดยข้อมูลสาหรับการบริหารโครงการประกอบด้วย
5.1 ข้อมูลทั่วไปสาหรับโครงการ (Project Information)
5.1.1 วิธีวางแผนโครงการ (Schedule From)
- จากวันเริ่มต้นโครงการ (Project Start Date: PSD) เช่น จะจัดกิจกรรมส่งเสริมวินัยการคลัง โดยจัดบอร์ดที่ศูนย์ประชุมสิริกิตติ์ มีการวางแผนตั้งแต่เริ่มงาน ให้ประธานตัดริบบิ้น กล่าวเปิด จนกระทั่งสิ้นสุดการจัดกิจกรรม (เริ่มตั้งแต่ 0-10)
- จากวันสิ้นสุดโครงการ (Project Finish Date: PFD) โดยคานวณว่าควรเริ่มต้นโครงการเมื่อใด เพื่อให้โครงการสิ้นสุดตามที่ต้องการ
5.1.2 ปฏิทินการทางาน (Calendar) โดยใช้ Base Calendar ซึ่งเป็นเครื่องมือสาหรับกาหนดเวลา การทางาน (Working Time) กับเวลาไม่ทางาน (Nonworking Time) โดย Microsoft Project ทาแม่แบบพื้นฐานไว้ 3 แบบ คือ
1) Standard ทางานวันจันทร์-วันศุกร์ วันละ 8 ชม. โดยทางานระหว่างเวลา 08.00-12.00 น. และ 13.00-17.00 หยุดวันเสาร์และวันอาทิตย์ (ไม่รวมถึงวันหยุดนักขัตฤกษ์)
2) 24 Hour ทางานทุกวันต่อเนื่องตลอดเวลา ไม่มีเวลาหยุด เช่น การทางานของร้าน 7-11 การทางานของเครื่องจักร เป็นต้น
3) Night Shift คือ การทางานเป็นกะ โดยอยู่บนพื้นฐานของการทางานแบบ 40 ชม./อาทิตย์ เช่น ทางานผลัดกลางคืนระหว่างเวลา 23.00-03.00 น.และ 04.00-08.00 น. เป็นต้น
5.2 ข้อมูลของงาน (Task Information) เป็นการให้ข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับงาน
5.2.1 ชื่องาน (Task Name)
1) Task คือ งานทั่วไป
2) Summary Task คือ งานสรุป หรืองานรวม
3) Sub Task คือ งานย่อย
4) Milestone คือ งานที่มีระยะเวลาเท่ากับศูนย์ ใช้สาหรับบอกความก้าวหน้าของโครงการ
5.2.2 ระยะเวลา (Duration)
1) เวลาทางาน ประกอบด้วย d (day), w (weeks), h (hour), m (minute), mo (month)
2) เวลาต่อเนื่อง (Elapsed Time) ประกอบด้วย ed (E-Day), ew (e-weeks), eh (e-hour), em (e-minute), emo (e-month)
5.2.3 ความสัมพันธ์ (Relationship) เป็นการระบุความสาคัญของงานว่า งานใดมีความสาคัญลาดับแรก (Predecessor) งานใดมีความสาคัญลาดับถัดไป (Successor) ซึ่งความสัมพันธ์ของงานแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1) Finish to Start (FS) ทางาน Successor ให้เสร็จก่อน จึงจะทางาน Predecessor เช่น จ่ายค่าจอดรถก่อนนารถเข้าไปจอด เป็นต้น
2) Start to Start (SS) งาน Predecessor และSuccessor เริ่มพร้อม ๆ กัน
3) Finish to Finish (FF) งาน Predecessor และSuccessor เสร็จสิ้นพร้อมกัน เช่น การรับจัดงานแต่งงาน โดยงานทุกอย่างต้องเสร็จเมื่องานแต่งเริ่ม เป็นต้น
4) Start to Finish (SF) งาน Predecessor เริ่มต้นเมื่อ Successor เสร็จสิ้น เช่น งาน Successor ของผู้จัดฝึกอบรม (สป.กค.) คือ การรวบรวมรายชื่อ ติดต่อวิทยากร เตรียมเอกสารอบรมฯ ซึ่งทั้งหมดต้องเรียบร้อยก่อน จึงจะเริ่มฝึกอบรม/การเรียนการสอน เป็นต้น
5.2.4 ข้อจากัด (Constrain) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเงื่อนไข หรือข้อจากัด เช่น โครงต้องเริ่ม/จบ ณ วันใด ๆ หรือโครงการห้ามช้าไปกว่าวันใด ๆ โดยสามารถแบ่งข้อจากัดได้ออกเป็น 8 ประเภท ดังนี้
1) As Soon As Possible (ASAP) เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้
2) As Late As Possible (ALAP) ช้าที่สุดเท่าที่จะทาได้
3) Must Start On (MSO) ต้องเริ่มในวันที่
4) Must Finish On (MFO) ต้องจบในวันที่
5) Start No Later Than (SNLT) ต้องเริ่มไม่ช้าไปกว่าวันที่
6) Finish No Later Than (FNLT) ต้องจบไม่ช้าไปกว่าวันที่
7) Start No Earlier Than (SNET) ต้องเริ่มไม่เร็วไปกว่าวันที่
8) Finish No Earlier Than (FNET) ต้องจบไม่เร็วไปกว่าวันที่
5.3 ข้อมูลทั่วไปสาหรับทรัพยากร (Resource Information) สาหรับกาหนดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร ดังนี้
5.3.1 กาหนดรายละเอียดทรัพยากร ที่มุมมอง Resource Sheet หรือ Resource Information
5.3.2 เรียกใช้ทรัพยากร (Assign Resource)
- ควรมีการมอบหมายงานที่เหมาะสม
- ช่วยเตือนเรื่องทรัพยากรที่อาจ Over Load หรือการมอบหมายงานซ้าซ้อน
- มีการมอบหมายงานที่ชัดเจน
ปัจจุบันดารงตาแหน่ง : นักวิชาการเงินและบัญชีชานาญการ
หน่วยงาน : สานักงานเลขานุการกรม
หลักสูตรฝึกอบรม : การใช้โปรแกรม Microsoft Project
หน่วยงานผู้จัด : กระทรวงการคลัง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร / โครงการฝึกอบรม
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการบริหารโครงการ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Project ซึ่งเป็นโปรแกรมเพื่อการบริหารจัดการโครงการ ทรัพยากร โดยเริ่มตั้งแต่การป้อนข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ ปฏิทินพื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงเวลาทางานในปฏิทิน การป้อนข้อมูลเกี่ยวกับงาน ประเภทความสัมพันธ์ของงาน การกาหนดรูปแบบความสัมพันธ์ของงาน การจัดการกับทรัพยากร ปัญหาการเรียกใช้ทรัพยากรซ้าซ้อน การติดตามงาน การพิมพ์รายละเอียดของโครงการออกทางเครื่องพิมพ์ รวมทั้งการจัดรูปแบบรายงานแบบต่าง ๆ ของโครงการ
การแบ่งปันความรู้ที่ได้รับ : การบริหารโครงการด้วย Microsoft Project
1. ลักษณะเด่นของโครงการ
1.1 ประกอบไปด้วยงานย่อย
1.2 มีวันเริ่มวันจบแน่นอน
1.3 มีข้อบังคับทางด้านขอบเขตของงานและคุณภาพ ระยะเวลา และค่าใช้จ่าย
2. วัตถุประสงค์ของการบริหารโครงการ
2.1 สามารถดาเนินโครงการให้สาเร็จตามแผนที่กาหนดไว้
2.2 ใช้ทรัพยากรในการดาเนินโครงการน้อยที่สุด ทั้งในแง่ของเวลาและค่าใช้จ่าย
3. แนวความคิดในการบริหารโครงการ
3.1 PERT (Program Evaluation Research Technique)
สาหรับนักบริหารโครงการที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทาโครงการมาก่อน โดยเป็นการประเมินเวลา (เวทเวลา) ที่เหมาะสมจากระยะเวลา 3 ค่า ดังนี้
- Optimistic Duration ใช้เวลาดาเนินโครงการสั้นที่สุด นักบริหารโครงการจะเป็นคนมองโลกในแง่ดี เช่น การสร้าง SkyWalk จะสามารถสาเร็จภายในเวลาประมาณ 1 เดือน โดยไม่มีปัญหาและอุปสรรคใด ๆ
- Pessimistic Duration ใช้เวลาดาเนินโครงการนานที่สุด นักบริหารโครงการจะเป็นคนมองโลกในแง่ลบ เช่น การสร้าง SkyWalk จะสามารถสาเร็จได้ต้องใช้เวลานานเป็นปี เนื่องจากอาจต้องมีการเวนคืนที่ดิน เป็นต้น
- Expected Duration ใช้เวลาดาเนินโครงการปานกลาง นักบริหารโครงการจะเป็นคนมองโลกแบบกลาง ๆ
น้าหนักที่ใช้ประเมินคือ 1:4:1 (นาระยะเวลา 3 ค่ามากาหนดเป็นสูตร โดย 4 คือ Expected)
3.2 CPM (Critical Path Method)
สาหรับนักบริหารโครงการที่เคยมีประสบการณ์ในการทาโครงการมาก่อน เช่น เคยบริหารโครงการจัดฝึกอบรมมาก่อน ซึ่งโปรแกรม Microsoft Project ใช้แนวคิดนี้ในการคานวณและบริหารโครงการ
4. ขั้นตอนสาคัญของการบริหารโครงการ
4.1 วางแผน (Plan)
4.1.1 แจกแจงงานและระบุความสัมพันธ์
4.1.2 กาหนดทรัพยากรที่ต้องใช้
4.1.3. สร้างชาร์ทแสดงโครงการ
4.1.4 คิดคานวณระยะเวลาของโครงการ
4.1.5 คิดคานวณค่าใช้จ่าย
4.1.6 ปรับปรุงโครงการ
4.2 ดาเนินโครงการ (Operate)
4.3 ประเมินผลโครงการ (Evaluate)
5. การให้ข้อมูลสาหรับการบริหารโครงการ
Microsoft Project ใช้สาหรับอัพเดทโครงการได้ โดยช่วงเวลาอัพเดทไม่สาคัญเท่ากับข้อมูลที่ป้อนให้กับ Microsoft Project เช่น ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อโครงการ (น้าท่วม แผ่นดินไหว คนงานสไตร์ค) หรือปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อโครงการ (การวางแผนระยะสั้นเกินจริง) โดยข้อมูลสาหรับการบริหารโครงการประกอบด้วย
5.1 ข้อมูลทั่วไปสาหรับโครงการ (Project Information)
5.1.1 วิธีวางแผนโครงการ (Schedule From)
- จากวันเริ่มต้นโครงการ (Project Start Date: PSD) เช่น จะจัดกิจกรรมส่งเสริมวินัยการคลัง โดยจัดบอร์ดที่ศูนย์ประชุมสิริกิตติ์ มีการวางแผนตั้งแต่เริ่มงาน ให้ประธานตัดริบบิ้น กล่าวเปิด จนกระทั่งสิ้นสุดการจัดกิจกรรม (เริ่มตั้งแต่ 0-10)
- จากวันสิ้นสุดโครงการ (Project Finish Date: PFD) โดยคานวณว่าควรเริ่มต้นโครงการเมื่อใด เพื่อให้โครงการสิ้นสุดตามที่ต้องการ
5.1.2 ปฏิทินการทางาน (Calendar) โดยใช้ Base Calendar ซึ่งเป็นเครื่องมือสาหรับกาหนดเวลา การทางาน (Working Time) กับเวลาไม่ทางาน (Nonworking Time) โดย Microsoft Project ทาแม่แบบพื้นฐานไว้ 3 แบบ คือ
1) Standard ทางานวันจันทร์-วันศุกร์ วันละ 8 ชม. โดยทางานระหว่างเวลา 08.00-12.00 น. และ 13.00-17.00 หยุดวันเสาร์และวันอาทิตย์ (ไม่รวมถึงวันหยุดนักขัตฤกษ์)
2) 24 Hour ทางานทุกวันต่อเนื่องตลอดเวลา ไม่มีเวลาหยุด เช่น การทางานของร้าน 7-11 การทางานของเครื่องจักร เป็นต้น
3) Night Shift คือ การทางานเป็นกะ โดยอยู่บนพื้นฐานของการทางานแบบ 40 ชม./อาทิตย์ เช่น ทางานผลัดกลางคืนระหว่างเวลา 23.00-03.00 น.และ 04.00-08.00 น. เป็นต้น
5.2 ข้อมูลของงาน (Task Information) เป็นการให้ข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับงาน
5.2.1 ชื่องาน (Task Name)
1) Task คือ งานทั่วไป
2) Summary Task คือ งานสรุป หรืองานรวม
3) Sub Task คือ งานย่อย
4) Milestone คือ งานที่มีระยะเวลาเท่ากับศูนย์ ใช้สาหรับบอกความก้าวหน้าของโครงการ
5.2.2 ระยะเวลา (Duration)
1) เวลาทางาน ประกอบด้วย d (day), w (weeks), h (hour), m (minute), mo (month)
2) เวลาต่อเนื่อง (Elapsed Time) ประกอบด้วย ed (E-Day), ew (e-weeks), eh (e-hour), em (e-minute), emo (e-month)
5.2.3 ความสัมพันธ์ (Relationship) เป็นการระบุความสาคัญของงานว่า งานใดมีความสาคัญลาดับแรก (Predecessor) งานใดมีความสาคัญลาดับถัดไป (Successor) ซึ่งความสัมพันธ์ของงานแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1) Finish to Start (FS) ทางาน Successor ให้เสร็จก่อน จึงจะทางาน Predecessor เช่น จ่ายค่าจอดรถก่อนนารถเข้าไปจอด เป็นต้น
2) Start to Start (SS) งาน Predecessor และSuccessor เริ่มพร้อม ๆ กัน
3) Finish to Finish (FF) งาน Predecessor และSuccessor เสร็จสิ้นพร้อมกัน เช่น การรับจัดงานแต่งงาน โดยงานทุกอย่างต้องเสร็จเมื่องานแต่งเริ่ม เป็นต้น
4) Start to Finish (SF) งาน Predecessor เริ่มต้นเมื่อ Successor เสร็จสิ้น เช่น งาน Successor ของผู้จัดฝึกอบรม (สป.กค.) คือ การรวบรวมรายชื่อ ติดต่อวิทยากร เตรียมเอกสารอบรมฯ ซึ่งทั้งหมดต้องเรียบร้อยก่อน จึงจะเริ่มฝึกอบรม/การเรียนการสอน เป็นต้น
5.2.4 ข้อจากัด (Constrain) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเงื่อนไข หรือข้อจากัด เช่น โครงต้องเริ่ม/จบ ณ วันใด ๆ หรือโครงการห้ามช้าไปกว่าวันใด ๆ โดยสามารถแบ่งข้อจากัดได้ออกเป็น 8 ประเภท ดังนี้
1) As Soon As Possible (ASAP) เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้
2) As Late As Possible (ALAP) ช้าที่สุดเท่าที่จะทาได้
3) Must Start On (MSO) ต้องเริ่มในวันที่
4) Must Finish On (MFO) ต้องจบในวันที่
5) Start No Later Than (SNLT) ต้องเริ่มไม่ช้าไปกว่าวันที่
6) Finish No Later Than (FNLT) ต้องจบไม่ช้าไปกว่าวันที่
7) Start No Earlier Than (SNET) ต้องเริ่มไม่เร็วไปกว่าวันที่
8) Finish No Earlier Than (FNET) ต้องจบไม่เร็วไปกว่าวันที่
5.3 ข้อมูลทั่วไปสาหรับทรัพยากร (Resource Information) สาหรับกาหนดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร ดังนี้
5.3.1 กาหนดรายละเอียดทรัพยากร ที่มุมมอง Resource Sheet หรือ Resource Information
5.3.2 เรียกใช้ทรัพยากร (Assign Resource)
- ควรมีการมอบหมายงานที่เหมาะสม
- ช่วยเตือนเรื่องทรัพยากรที่อาจ Over Load หรือการมอบหมายงานซ้าซ้อน
- มีการมอบหมายงานที่ชัดเจน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านการรักษาผลประโยชน์ของรัฐ (รุ่นที่ ๑)
ผู้เล่าเรื่อง : นางสาววันวิสาข์ ศิริเจริญจรรยา
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง : นิติกรปฏิบัติการ
หน่วยงาน : สำนักกฎหมาย
การแบ่งปันความรู้ที่ได้รับ : การรวบรวมเอกสารหลักฐานในคดี
๑. เอกสารที่ต้องมีการจัดทำสำหรับคดีทุกเรื่อง
โดยที่การดำเนินคดีของศาลปกครองใช้ระบบไต่สวน ซึ่งการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาลปกครอง มีการไต่สวนพยานบุคคลน้อยมาก พยานเอกสารจึงมีความสำคัญยิ่ง เมื่อหน่วยงานตัวความส่งเรื่องให้พนักงานอัยการดำเนินคดี ไม่ว่าจะเป็นกรณีว่าต่างหรือแก้ต่าง การรวบรวมเอกสารและพยานหลักฐานของหน่วยงาน หากตัวความสามารถรวบรวมเอกสารหลักฐานได้ครบถ้วนและรวดเร็ว พนักงานอัยการก็สามารถดำเนินคดีได้รวดเร็ว สามารถแก้ต่างคดีได้ครบถ้วนในทุกประเด็นส่งผลดีต่อการดำเนินคดีในชั้นศาล เพื่อประโยชน์ของทางราชการ จึงควรจัดเตรียมเอกสารดังนี้
(๑)จัดทำบันทึกสรุปข้อเท็จจริงความเป็นมาในคดีให้ครบถ้วนคือเกี่ยวกับฐานะทางกฎหมายของหน่วยงานตัวความเกี่ยวกับข้อพิพาทที่เกิดขึ้น เหตุที่ทำให้เกิดอำนาจฟ้อง เหตุที่ถูกฟ้องเหตุแห่งการต่อสู้คดี กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี การระบุข้อสัญญาที่คู่กรณีปฏิบัติไม่ถูกต้องให้ชัดเจน
(๒)เอกสารหลักฐานในคดีที่ส่งให้พนักงานอัยการต้องทำการรับรองสำเนาถูกต้องทุกหน้าทุกแผ่นสำเนาเอกสารที่ปิดอากรแสตมป์ต้องถ่ายให้ปรากฏอากรแสตมป์ที่ขีดฆ่าไว้ด้วยรวมถึงกรณีที่เป็นสำเนาเอกสารมหาชนจะต้องรับรองความถูกต้องโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจทำและออกเอกสารโดยปกติจัดชุดได้แก่ เอกสารสำหรับพนักงานอัยการติดสำนวน ๑ ชุด แนบท้ายคำฟ้องหรือท้ายคำให้การ ๑ ชุด และสำหรับคู่ความซึ่งเป็นคู่กรณี คนละ ๑ ชุด ตามจำนวนผู้ฟ้องคดีหรือผู้ถูกฟ้องคดี
(๓)ในกรณีที่เป็นหน่วยงานที่ไม่ได้รับการยกเว้นตามประมวลรัษฎากรต้องจัดให้มีการปิดอากรแสตมป์ให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมขีดฆ่าให้เรียบร้อย
(๔) ดำเนินการตรวจสอบสถานภาพการล้มละลายของคู่กรณี
(๕)เอกสารที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี เช่น หนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินคดี คำสั่งมอบอำนาจ คำสั่งแต่งตั้งการดำรงตำแหน่งของผู้มอบอำนาจและของผู้รับมอบอำนาจหลักฐานบัตรประจำตัวของผู้มอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจในกรณีผู้มอบอำนาจเป็นคณะบุคคลไม่ได้จัดส่งมติที่ประชุมของคณะบุคคลดังกล่าว
(๖)จัดทำบัญชีระบุเอกสารที่นำส่งพนักงานอัยการ
(๗) แบบรับรองการทะเบียนราษฎร์ หรือหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ฉบับที่เจ้าหน้าที่/นายทะเบียนออกให้ไม่เกิน ๑ เดือน นับแต่วันออกหนังสือจนถึงวันยื่นฟ้องต่อศาล
๒. พยานหลักฐานและเอกสารที่ต้องรวบรวมส่งพนักงานอัยการในการดำเนินคดีแต่ละประเภท
๒.๑ คดีว่าต่างและแก้ต่างกรณีผิดสัญญาทางปกครอง
(๑)การจัดส่งคำแปลพร้อมมีผู้รับรองคำแปล กรณีสัญญาพิพาทเป็นภาษาต่างประเทศ
(๒)หนังสือบอกกล่าวการโอนสิทธิเรียกร้อง หรือหนังสือรับสภาพหนี้ที่คู่กรณีซึ่งจะถูกฟ้องคดี และทำไว้กับธนาคารหรือสถาบันการเงิน
(๓) เอกสารที่เกี่ยวด้วยเหตุที่ผิดสัญญา เช่น คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือการตรวจจ้าง หนังสือแจ้งสงวนสิทธิการเรียกค่าปรับ กรณีเป็นเบี้ยปรับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๓๘๑ หนังสือแจ้งเลิกสัญญา หนังสือโต้ตอบคู่กรณีทุกฉบับ พร้อมหลักฐานการรับหนังสือ/ใบตอบรับทางไปรษณีย์
(๔) เอกสารเกี่ยวกับจำนวนเงินที่เรียกให้ชดใช้ค่าทดแทนและค่าเสียหาย หลักฐานซึ่งแสดงที่มาของการคำนวณเงินต่าง ๆ เช่น ประกาศอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที่ยื่นฟ้อง โดยคำนวณค่าเสียหายหรือจำนวนเงินที่เรียกร้องเป็นเงินสกุลบาท เพื่อระบุจำนวนทุนทรัพย์
(๕) หลักฐานที่จะพิสูจน์ว่าหน่วยงานตัวความได้รับความเสียหายจากการผิดสัญญาของคู่สัญญาอย่างไร เนื่องจากในกรณีที่หน่วยงานตัวความฟ้องเรียกค่าปรับ จะต้องพิสูจน์ความเสียหายให้ปรากฏในชั้นพิจารณาของศาลว่าจำนวนค่าปรับที่เรียกเหมาะสมกับความเสียหาย
๒.๒ คดีว่าต่างและแก้ต่างกรณีละเมิดทางปกครอง
(๑) เอกสารเกี่ยวกับเนื้อหาคดีซึ่งเป็นประเด็นสำคัญ เช่น รายงานการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด ความเห็นของหน่วยงาน ฯลฯ
(๒)เอกสารแสดงความเสียหาย เช่น หลักฐานเกี่ยวกับค่าเสียหายที่เป็นตัวเงิน กรณีที่ค่าเสียหายไม่แน่นอน ต้องชี้แจงว่าจำนวนเงินที่ขอให้เรียกร้องนั้นอ้างอิงจากค่ามาตรฐานหรือราคากลางตามเอกสารใด รายงานเกี่ยวกับอุบัติเหตุและความเสียหาย ฯลฯ
(๓)แจ้งผลการดำเนินคดีอาญาพร้อมส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องในคดีอาญาทั้งหมด เช่น สำเนาคำให้การชั้นสอบสวน สำเนาสรุปข้อเท็จจริงและความเห็นของพนักงานสอบสวน สำเนาคำพิพากษา โดยผู้ประสานคดีต้องติดตามและรายงานผลการดำเนินคดีอาญาต่อพนักงานอัยการจนกว่าคดีอาญาจะถึงที่สุด
๒.๓ คดีฟ้องขับไล่ เรียกค่าเสียหาย (กรณีไม่มีสัญญาเช่าแต่อยู่โดยบุกรุก และอยู่โดยละเมิด)
(๑) หลักฐานเกี่ยวกับทรัพย์สิน และหลักฐานที่แสดงว่าหน่วยงานตัวความนั้นมีอำนาจฟ้องขับไล่
(๒) เอกสารแสดงการได้มาซึ่งที่ดิน
(๓) หลักฐานการส่ง –รับขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุ หรือหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง
(๔) หลักฐานแสดงแนวเขตที่ชัดเจนของที่ดินส่วนที่บุกรุก จำนวนเนื้อที่ดินถูกบุกรุก
(๕) หลักฐานแสดงการบุกรุกหรือการใช้พื้นที่
(๖) เอกสารหรือหลักฐานแสดงราคาประเมินทรัพย์สินว่ามีราคาเท่าใด และส่วนที่บุกรุก มีราคาประเมินเท่าใด หากนำออกให้เช่าอาจให้เช่าได้ในราคาเท่าใด
(๗) สำเนาหนังสือแจ้งให้ผู้บุกรุกพร้อมบริวารออกจากพื้นที่ และหลักฐานการรับหนังสือ/ ใบตอบรับทางไปรษณีย์
(๘) หลักฐานที่แสดงว่าขณะยื่นฟ้อง ผู้บุกรุกและบริวารยังคงยึดถือครอบครองทรัพย์สินอยู่
(๙) การคิดคำนวณค่าเสียหาย พร้อมหลักเกณฑ์ที่นำมาใช้ในการคำนวณ
(๑๐) หากมีการดำเนินคดีอาญา ให้ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีอาญา ผลคดี คำพิพากษาคดีอาญา
๒.๔ การดำเนินคดีเกี่ยวกับที่ดิน
(๑) เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการแสดงสิทธิในที่ดิน โดยให้ถ่ายเอกสารจากต้นฉบับเต็มทุกหน้า โดยเฉพาะสารบัญหน้าสุดท้ายที่มีชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์รายล่าสุด และให้ถ่ายติด วัน เดือน ปี ที่ทำนิติกรรม
(๒) หลักฐานเกี่ยวกับการออกเอกสารสิทธิ
(๓) หลักฐานเกี่ยวกับการทำนิติกรรม
(๔) หลักฐานเกี่ยวกับสภาพที่ตั้งของที่ดิน
(๕) หลักฐานเกี่ยวกับราคาที่ดิน
(๖) กรณีเป็นที่ราชพัสดุ ไม่จัดส่งหนังสือมอบอำนาจให้ฟ้องคดีจากกระทรวงการคลัง
(๗) หลักฐานอื่น ๆ เช่น สำเนากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องในคดี
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง : นิติกรปฏิบัติการ
หน่วยงาน : สำนักกฎหมาย
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร / โครงการฝึกอบรม
1. เพื่อพัฒนาการดำเนินคดีปกครองทั้งในด้านขั้นตอน วิธีการ การปฏิบัติงาน รวบรวมข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน ตรวจสอบสำนวน ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินคดี อันจะส่งผลให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินคดีตามภารกิจในศาลให้มากขึ้น
2. นิติกรและผู้ประสานงานในคดีภายนอกองค์กรสามารถพัฒนาความรู้ความเข้าใจระบบการดำเนิน คดีปกครองและมีความเข้าใจกระบวนการที่สำคัญได้ง่ายขึ้น สามารถสรุปข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานส่งเรื่องให้พนักงานอัยการได้ถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา ทำให้เกิดแนวทางร่วมกันที่ดีและความร่วมมือระหว่างองค์กร
๑. เอกสารที่ต้องมีการจัดทำสำหรับคดีทุกเรื่อง
โดยที่การดำเนินคดีของศาลปกครองใช้ระบบไต่สวน ซึ่งการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาลปกครอง มีการไต่สวนพยานบุคคลน้อยมาก พยานเอกสารจึงมีความสำคัญยิ่ง เมื่อหน่วยงานตัวความส่งเรื่องให้พนักงานอัยการดำเนินคดี ไม่ว่าจะเป็นกรณีว่าต่างหรือแก้ต่าง การรวบรวมเอกสารและพยานหลักฐานของหน่วยงาน หากตัวความสามารถรวบรวมเอกสารหลักฐานได้ครบถ้วนและรวดเร็ว พนักงานอัยการก็สามารถดำเนินคดีได้รวดเร็ว สามารถแก้ต่างคดีได้ครบถ้วนในทุกประเด็นส่งผลดีต่อการดำเนินคดีในชั้นศาล เพื่อประโยชน์ของทางราชการ จึงควรจัดเตรียมเอกสารดังนี้
(๑)จัดทำบันทึกสรุปข้อเท็จจริงความเป็นมาในคดีให้ครบถ้วนคือเกี่ยวกับฐานะทางกฎหมายของหน่วยงานตัวความเกี่ยวกับข้อพิพาทที่เกิดขึ้น เหตุที่ทำให้เกิดอำนาจฟ้อง เหตุที่ถูกฟ้องเหตุแห่งการต่อสู้คดี กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี การระบุข้อสัญญาที่คู่กรณีปฏิบัติไม่ถูกต้องให้ชัดเจน
(๒)เอกสารหลักฐานในคดีที่ส่งให้พนักงานอัยการต้องทำการรับรองสำเนาถูกต้องทุกหน้าทุกแผ่นสำเนาเอกสารที่ปิดอากรแสตมป์ต้องถ่ายให้ปรากฏอากรแสตมป์ที่ขีดฆ่าไว้ด้วยรวมถึงกรณีที่เป็นสำเนาเอกสารมหาชนจะต้องรับรองความถูกต้องโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจทำและออกเอกสารโดยปกติจัดชุดได้แก่ เอกสารสำหรับพนักงานอัยการติดสำนวน ๑ ชุด แนบท้ายคำฟ้องหรือท้ายคำให้การ ๑ ชุด และสำหรับคู่ความซึ่งเป็นคู่กรณี คนละ ๑ ชุด ตามจำนวนผู้ฟ้องคดีหรือผู้ถูกฟ้องคดี
(๓)ในกรณีที่เป็นหน่วยงานที่ไม่ได้รับการยกเว้นตามประมวลรัษฎากรต้องจัดให้มีการปิดอากรแสตมป์ให้ถูกต้องครบถ้วนพร้อมขีดฆ่าให้เรียบร้อย
(๔) ดำเนินการตรวจสอบสถานภาพการล้มละลายของคู่กรณี
(๕)เอกสารที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี เช่น หนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินคดี คำสั่งมอบอำนาจ คำสั่งแต่งตั้งการดำรงตำแหน่งของผู้มอบอำนาจและของผู้รับมอบอำนาจหลักฐานบัตรประจำตัวของผู้มอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจในกรณีผู้มอบอำนาจเป็นคณะบุคคลไม่ได้จัดส่งมติที่ประชุมของคณะบุคคลดังกล่าว
(๖)จัดทำบัญชีระบุเอกสารที่นำส่งพนักงานอัยการ
(๗) แบบรับรองการทะเบียนราษฎร์ หรือหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ฉบับที่เจ้าหน้าที่/นายทะเบียนออกให้ไม่เกิน ๑ เดือน นับแต่วันออกหนังสือจนถึงวันยื่นฟ้องต่อศาล
๒. พยานหลักฐานและเอกสารที่ต้องรวบรวมส่งพนักงานอัยการในการดำเนินคดีแต่ละประเภท
๒.๑ คดีว่าต่างและแก้ต่างกรณีผิดสัญญาทางปกครอง
(๑)การจัดส่งคำแปลพร้อมมีผู้รับรองคำแปล กรณีสัญญาพิพาทเป็นภาษาต่างประเทศ
(๒)หนังสือบอกกล่าวการโอนสิทธิเรียกร้อง หรือหนังสือรับสภาพหนี้ที่คู่กรณีซึ่งจะถูกฟ้องคดี และทำไว้กับธนาคารหรือสถาบันการเงิน
(๓) เอกสารที่เกี่ยวด้วยเหตุที่ผิดสัญญา เช่น คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือการตรวจจ้าง หนังสือแจ้งสงวนสิทธิการเรียกค่าปรับ กรณีเป็นเบี้ยปรับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๓๘๑ หนังสือแจ้งเลิกสัญญา หนังสือโต้ตอบคู่กรณีทุกฉบับ พร้อมหลักฐานการรับหนังสือ/ใบตอบรับทางไปรษณีย์
(๔) เอกสารเกี่ยวกับจำนวนเงินที่เรียกให้ชดใช้ค่าทดแทนและค่าเสียหาย หลักฐานซึ่งแสดงที่มาของการคำนวณเงินต่าง ๆ เช่น ประกาศอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที่ยื่นฟ้อง โดยคำนวณค่าเสียหายหรือจำนวนเงินที่เรียกร้องเป็นเงินสกุลบาท เพื่อระบุจำนวนทุนทรัพย์
(๕) หลักฐานที่จะพิสูจน์ว่าหน่วยงานตัวความได้รับความเสียหายจากการผิดสัญญาของคู่สัญญาอย่างไร เนื่องจากในกรณีที่หน่วยงานตัวความฟ้องเรียกค่าปรับ จะต้องพิสูจน์ความเสียหายให้ปรากฏในชั้นพิจารณาของศาลว่าจำนวนค่าปรับที่เรียกเหมาะสมกับความเสียหาย
๒.๒ คดีว่าต่างและแก้ต่างกรณีละเมิดทางปกครอง
(๑) เอกสารเกี่ยวกับเนื้อหาคดีซึ่งเป็นประเด็นสำคัญ เช่น รายงานการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด ความเห็นของหน่วยงาน ฯลฯ
(๒)เอกสารแสดงความเสียหาย เช่น หลักฐานเกี่ยวกับค่าเสียหายที่เป็นตัวเงิน กรณีที่ค่าเสียหายไม่แน่นอน ต้องชี้แจงว่าจำนวนเงินที่ขอให้เรียกร้องนั้นอ้างอิงจากค่ามาตรฐานหรือราคากลางตามเอกสารใด รายงานเกี่ยวกับอุบัติเหตุและความเสียหาย ฯลฯ
(๓)แจ้งผลการดำเนินคดีอาญาพร้อมส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องในคดีอาญาทั้งหมด เช่น สำเนาคำให้การชั้นสอบสวน สำเนาสรุปข้อเท็จจริงและความเห็นของพนักงานสอบสวน สำเนาคำพิพากษา โดยผู้ประสานคดีต้องติดตามและรายงานผลการดำเนินคดีอาญาต่อพนักงานอัยการจนกว่าคดีอาญาจะถึงที่สุด
๒.๓ คดีฟ้องขับไล่ เรียกค่าเสียหาย (กรณีไม่มีสัญญาเช่าแต่อยู่โดยบุกรุก และอยู่โดยละเมิด)
(๑) หลักฐานเกี่ยวกับทรัพย์สิน และหลักฐานที่แสดงว่าหน่วยงานตัวความนั้นมีอำนาจฟ้องขับไล่
(๒) เอกสารแสดงการได้มาซึ่งที่ดิน
(๓) หลักฐานการส่ง –รับขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุ หรือหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง
(๔) หลักฐานแสดงแนวเขตที่ชัดเจนของที่ดินส่วนที่บุกรุก จำนวนเนื้อที่ดินถูกบุกรุก
(๕) หลักฐานแสดงการบุกรุกหรือการใช้พื้นที่
(๖) เอกสารหรือหลักฐานแสดงราคาประเมินทรัพย์สินว่ามีราคาเท่าใด และส่วนที่บุกรุก มีราคาประเมินเท่าใด หากนำออกให้เช่าอาจให้เช่าได้ในราคาเท่าใด
(๗) สำเนาหนังสือแจ้งให้ผู้บุกรุกพร้อมบริวารออกจากพื้นที่ และหลักฐานการรับหนังสือ/ ใบตอบรับทางไปรษณีย์
(๘) หลักฐานที่แสดงว่าขณะยื่นฟ้อง ผู้บุกรุกและบริวารยังคงยึดถือครอบครองทรัพย์สินอยู่
(๙) การคิดคำนวณค่าเสียหาย พร้อมหลักเกณฑ์ที่นำมาใช้ในการคำนวณ
(๑๐) หากมีการดำเนินคดีอาญา ให้ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีอาญา ผลคดี คำพิพากษาคดีอาญา
๒.๔ การดำเนินคดีเกี่ยวกับที่ดิน
(๑) เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการแสดงสิทธิในที่ดิน โดยให้ถ่ายเอกสารจากต้นฉบับเต็มทุกหน้า โดยเฉพาะสารบัญหน้าสุดท้ายที่มีชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์รายล่าสุด และให้ถ่ายติด วัน เดือน ปี ที่ทำนิติกรรม
(๒) หลักฐานเกี่ยวกับการออกเอกสารสิทธิ
(๓) หลักฐานเกี่ยวกับการทำนิติกรรม
(๔) หลักฐานเกี่ยวกับสภาพที่ตั้งของที่ดิน
(๕) หลักฐานเกี่ยวกับราคาที่ดิน
(๖) กรณีเป็นที่ราชพัสดุ ไม่จัดส่งหนังสือมอบอำนาจให้ฟ้องคดีจากกระทรวงการคลัง
(๗) หลักฐานอื่น ๆ เช่น สำเนากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องในคดี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)